ะบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หรือที่เรียกว่า CMU-QA Curriculum มีจำนวน 10 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย

ตัวบ่งชี้ ชื่อตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน
ตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา  “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน”
ตัวบ่งชี้ที่ 2 อัตราการรับเข้าศึกษาตามแผนการศึกษา  “ไม่ประเมินให้คะแนน”
ตัวบ่งชี้ที่ 3 อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา  “ไม่ประเมินให้คะแนน”
ตัวบ่งชี้ที่ 4 อัตราการสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร  “ไม่ประเมินให้คะแนน”
ตัวบ่งชี้ที่ 5 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินกระบวนวิชาในหลักสูตร  “ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน”
ตัวบ่งชี้ที่ 6 ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้  “ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน”
ตัวบ่งชี้ที่ 7 การบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้  (Learning Outcomes)  “ไม่ประเมินให้คะแนน”
ตัวบ่งชี้ที่ 8 การทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้  “ไม่ประเมินให้คะแนน”
ตัวบ่งชี้ที่ 9 คุณภาพบัณฑิตด้านคุณธรรม คุณภาพ และทักษะการเป็นพลเมืองโลก  “ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน”
ตัวบ่งชี้ที่ 10 (ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี  “ร้อยละ 100 คะแนนเต็ม 5”
ตัวบ่งชี้ที่ 10 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่  “ร้อยละ 40 คะแนนเต็ม 5”
ตัวบ่งชี้ที่ 10 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่  “ร้อยละ 80 คะแนนเต็ม 5”
ภาคผนวก ตัวบ่งชี้ 5.4 สกอ. ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ “ไม่ประเมินให้คะแนน”

 

 

♦ ตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา

 

เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548

 

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก ประกาศนียบัตรบัณฑิต/บัณฑิตชั้นสูง
1. จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร 🗸 🗸 🗸 🗸
2. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร 🗸 🗸 🗸 🗸
3. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร   🗸 🗸 🗸
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน   🗸 🗸 🗸
5. คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ   🗸 🗸  
6. คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)   🗸 🗸  
7. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์   🗸 🗸  
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา   🗸 🗸  
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา   🗸 🗸  
10. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษามีผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ   🗸 🗸  
11. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด 🗸 🗸 🗸 🗸
รวม 3 ข้อ 11 ข้อ 11 ข้อ 5 ข้อ

 

เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558

 

  เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก ประกาศนียบัตรบัณฑิต/บัณฑิตชั้นสูง
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 🗸 🗸 🗸 🗸
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 🗸 🗸 🗸 🗸
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร 🗸 🗸 🗸 🗸
4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน 🗸 🗸 🗸 🗸
5. คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ   🗸 🗸  
6. คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)   🗸 🗸  
7. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์   🗸 🗸  
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา   🗸 🗸  
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา   🗸 🗸  
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด 🗸 🗸 🗸 🗸
รวม 5 ข้อ 10 ข้อ 10 ข้อ 5 ข้อ

♦ ตัวบ่งชี้ที่ 2 อัตราการรับเข้าตามแผนการศึกษา

  • แสดงประสิทธิภาพของกระบวนการรับนักศึกษา
  • เป็นข้อมูลป้อนกลับในการพัฒนากระบวนการรับนักศึกษา
  • วิเคราะห์แนวโน้มความต้องการของตลาด

อัตราการรับเข้าตามแผนการศึกษา

  • แสดงประสิทธิภาพของกระบวนการรับนักศึกษา
  • เป็นข้อมูลป้อนกลับในการพัฒนากระบวนการรับนักศึกษา
  • วิเคราะห์แนวโน้มความต้องการของตลาด
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟

1. ร้อยละของจำนวนรับเข้าศึกษาตามแผนการศึกษา

 

ปีการศึกษา 2560 2561 2562 2563 2564
จำนวนรับตามแผนที่กำหนดใน มคอ. 2          
จำนวนที่รับเข้าศึกษาจริง          
ร้อยละของจำนวนรับเข้าศึกษาตามแผนการศึกษา          

 

1. จำนวนที่รับเข้าศึกษาจริง หมายถึง จำนวนนักศึกษาที่รายงานตัวเข้าศึกษาในหลักสูตร

2. ทุกหลักสูตรรายงานร้อยละของจำนวนรับเข้าศึกษาตามแผนการศึกษาที่ระบุใน มคอ. 2

3. กรณีหลักสูตรมีมากกว่าหนึ่งแผนการศึกษา ให้รายงานตามแผนการศึกษาที่ระบุใน มคอ. 2

อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา

  • การเตรียมความพร้อมทางการเรียนแก่นักศึกษา
  • การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร
  • การวางระบบการดูแลให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร และมีความสามารถในการเรียนได้อย่างมีความสุข

ส่งผลให้อัตราการลาออกหรือการพ้นสภาพนักศึกษาน้อยลง

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟

ตัวบ่งชี้ที่ 4 อัตราการสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

  • แสดงถึงคุณภาพของนักศึกษาที่รับเข้าและการจัดการศึกษา ให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาได้ตามเป้าหมายและเวลาที่หลักสูตรกำหนด
  • นำผลมาใช้ในการพัฒนาวิธีการรับเข้าศึกษา การเตรียมความพร้อม การวางระบบการให้คำปรึกษาและการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินกระบวนวิชาในหลักสูตร

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟

ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟

การบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes)

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟

การทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟

คุณภาพบัณฑิตด้านคุณธรรม คุณภาพ และทักษะการเป็นพลเมืองโลก

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟

ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟

ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟

ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟

ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU-QA Curriculum ) 🌟